การชี้แจงกรอบการวิจัยและนวัตกรรม ประจําปีงบประมาณ(2)(5)(6)(5)และแถลงผลสําเร็จจากการวิจัยและนวัตกรรม NRCT Open House 2021

จัดระหว่างวันที่ 18 – 25 กรกฎาคม2564

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.)กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(light bulb)(siren)ขอเชิญเข้าร่วมรับฟังการชี้แจงกรอบการวิจัยและนวัตกรรม ประจําปีงบประมาณ(2)(5)(6)(5)และแถลงผลสําเร็จจากการวิจัยและนวัตกรรม NRCT Open House 2021ระหว่างวันที่ 18 – 25 กรกฎาคม2564 ผ่านระบบออนไลน์ (loud volume)

(ในด้าน ดังนี้ 1) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (18 กรกฎาคม 2564)

2) ด้านการพัฒนาเส้นทางอาชีพนักวิจัยและนวัตกรรม และการวิจัยเพื่อฐานทางวิชาการ (19 กรกฎาคม 2564)

3) ด้านเศรษฐกิจและการเกษตร และด้านสัตว์เศรษฐกิจ (20 กรกฎาคม 2564)

4) ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม (21 กรกฎาคม 2564)

5) ด้านการรองรับสังคมสูงวัย (22 กรกฎาคม 2564)

6) ด้านสังคมและความมั่นคง (23 กรกฎาคม 2564)

7) ด้านการรองรับการระบาดของโรคโควิด-19และรองรับโรคติดต่ออุบัติใหม่ (24 กรกฎาคม 2564)

8) ด้านการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์ (25 กรกฎาคม 2564)

ทั้งนี้ สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมฟังผ่านเว็บไซต์ : (notepad)https://openhouse2021.nrct.go.th/ และรับชมถ่ายทอดผ่านช่องทาง Facebook LIVE : (up!)สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.)

ทุนฝึกงานหรือวิจัยระยะสั้นสำหรับน้องที่กำลังเรียน ป.ตรี หรือ โท

ทุนฝึกงานหรือวิจัยระยะสั้นสำหรับน้องที่กำลังเรียน ป.ตรี หรือ โท ที่อยากมีโอกาสไปญี่ปุ่นแบบไม่ยากมากนัก พร้อมงบสนับสนุน 100% คือ ทุนไปวิจัยสำหรับน้องที่กำลังเรียน ป.ตรี หรือ โท ให้ได้มาทำวิจัยที่โอกินาว่าประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจะเป็นการสร้าง PROFILE & โอกาสที่ดีสำหรับคนที่วางแผนอยากเรียนต่อ ป.เอก ที่ญี่ปุ่น

📣📣นอกจากประสบการณ์ สิ่งที่น้องๆจะได้การสนับสนุนระหว่างมาวิจัยมี
✅ เบี้ยเลี้ยง JPY 2,400 ต่อวันทำการ (ราววันละ 800 บาท) ✅ ฟรีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ตั๋วเครื่องบินไป – กลับ✅ ที่พักเป็น อพาร์ทเมนท์ตกแต่งแล้วในหรือนอกมหาวิทยาลัย✅ รถบัสรับส่งจากที่พักมาทำงาน✅ ฟรีการสนับสนุนอื่นๆ วีซ่า ประกันสุขภาพ

  • ระยะเวลาในการฝึกงานต้องอยู่ระหว่าง 2 ถึง 6 เดือนติดต่อกัน ผู้สมัครที่ต้องการวีซ่าสำหรับการฝึกงานควรพิจารณาการฝึกงานอย่างน้อย 90 วัน เพื่อให้มีคุณสมบัติในการยื่นขอวีซ่า
  • เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 การมาถึงของนักเรียนที่พำนักอยู่นอกประเทศญี่ปุ่นจะต้องถูกจำกัดการเดินทางระหว่างประเทศ ภายใต้ข้อกำหนดในปัจจุบัน ชาวต่างชาติจะต้องกักตัวเอง 14 วันหลังจากมาถึงญี่ปุ่น เมื่อเดินทางมาถึง นักเรียนทุกคนต้องทำการทดสอบ PCR ก่อนเริ่มโปรแกรมฝึกงาน
  • รายละเอียดโปรดศึกษาจาก
    https://admissions.oist.jp/apply-research-internship

โครงการอบรม “การปรับตัวและเตรียมความพร้อมของนักวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยของประเทศ”

จัดในวันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2564

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขอเชิญทุกท่านเข้าร่วมโครงการอบรม “การปรับตัวและเตรียมความพร้อมของนักวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยของประเทศ” ในวันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2564 เวลา 13.00 – 16.30 น. ผ่านระบบ Zoom ออนไลน์ (ID : 999004002)
ทั้งนี้สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมได้ตั้งแต่วันนี้จนถึงวันที่ 2 สิงหาคม 2564

Research Excellence Forum หัวข้อ Enzyme technology

จัดวันที่ 22 กรกฎาคม 2564

ขอเชิญ อาจารย์ นักวิจัย เข้าร่วมกิจกรรม Research Excellence Forum หัวข้อ “Enzyme technology” วันที่ 22 กรกฎาคม 2564 เวลา 13.30 – 16.00 น. ผ่านระบบ ZOOM

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ

จัดวันที่ 29-30 กรกฎาคม 2564

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ ขอเชิญเข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ ผ่านระบบออนไลน์ ZOOM MEETING ในวันที่ 30 กรกฎาคม 2564 เวลา 08.00 – 17.00 น. สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการภายในวันที่ 23 กรกฎาคม 2564 ที่ลิงค์ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSfEJNeO0z7in8r62jDA_JZCZwoz5mwsa3XGQUuMQKopRu9b3w/viewform

โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ”

จัดวันที่ 6 สิงหาคม 2564 และ วันที่ 9 สิงหาคม 2564

เปิดรับสมัคร โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ”💛 รูปแบบออนไลน์ ผ่านทาง Webex Online Training รับจำนวนจำกัด เพียง 200 ที่นั่ง เท่านนั้น

📆 วันที่ 6 ส.ค.64 และ 9 ส.ค.64📍 สมัครเข้าร่วมได้แล้วตั้งแต่วันนี้ เป็นต้นไป💸 อัตราค่าลงทะเบียน : บุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล 1800.-/ท่าน | บุคลากรภายนอก 2000.- บาท/ท่าน

ใบสมัครเข้าร่วม : https://forms.gle/9kk6W22RyoSNJQYPA

รายชื่อผู้สมัคร : https://docs.google.com/…/1uC_JaJPEvQlZr…/edit…

โครงการการเขียนข้อเสนอการวิจัยเพื่อเสนอขอรับทุนในระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 1

จัดวันพฤหัสบดี วันที่ 29 กรกฎาคม 2564

สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.อีสาน

ประชาสัมพันธ์โครงการการเขียนข้อเสนอการวิจัยเพื่อเสนอขอรับทุนในระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 1 โดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

1. ศาสตราจารย์ ดร. ปริญญา จินดาประเสริฐ

2. ศาตราจารย์ ดร.สมชาย วงศ์วิเศษ

3. ศาสตราจารย์ ดร.Phadungsak Rattanadechoโดยผู้สนใจสามารถรับฟ้งได้ 2 ช่องทาง ดังนี้1. ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ (Zoom Meeting)2. ฟังผ่านการถ่ายทอดสด ทาง Facebook ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ลงทะเบียนเข้าร่วมการอบรม ภายในวันจันทร์ที่ 26 กรกฎาคม 2564

ข้อมูลเพิ่มเติมhttps://ird.rmuti.ac.th/main/archives/922

โครงการชวนครูวิทย์ออกแบบเกมวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1 “ชวนมารู้ ชวนมาเล่น บอร์ดเกมในดวงใจ”

จัดวันที่ 17 กรกฎาคม 2564

🌻 โครงการชวนครูวิทย์ออกแบบเกมวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1 🌻
“ชวนมารู้ ชวนมาเล่น บอร์ดเกมในดวงใจ”

วิทยากร :
นายธีระพล วานิชชัง ร้าน Dot และ อาจารย์ ดร.อรุณรัศมิ์ วณิชชานนท์
วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม 2564 เวลา 09.00 – 12.30 น.
ผ่าน Facebook Live คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

เขียนอย่างไรเพิ่มโอกาสได้ทุนวิจัยจาก วช.และเทคนิคเตรียมขอตำแหน่ง (เน้น) ระดับศาสตราจารย์

วันที่จัด 20 กรกฎาคม 2564 เวลา 10.00 – 12.00 น.

ด้วยงานวิจัยและนวัตกรรมคณะฯ ขอเชิญบุคลากรคณะฯ ทุกท่าน
เข้าร่วมรับฟังกิจกรรมเสวนาด้านการวิจัย เรื่อง “เขียนอย่างไรเพิ่มโอกาสได้ทุนวิจัยจาก วช.
และเทคนิคเตรียมพร้อมขอตำแหน่ง (เน้น) ระดับศาสตราจารย์”
ขึ้นในวันพุธที่ 21 กรกฎาคม 2564 เวลา 10.00-12.00 น. ผ่านระบบ Zoom
โดยมีวิทยากร 2 ท่าน คือ ศ.ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช ศ.ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล
และผู้ดำเนินรายการ ศ.ดร.สุเมธ ไชยประพัทธ์

ท่านสามารถแจ้งชื่อเข้าร่วมกิจกรรมได้ที่ https://me-qr.com/1094286

Big Data Architecture from Theory to Practice

วันที่จัด 29 กรกฎาคม 2564 –

ปัจจุบันหลายหน่วยงานเล็งเห็นความสำคัญของการทำโปรเจ็คด้าน Big Data และมีข้อมูลขนาดใหญ่พร้อมแล้ว แต่เมื่อถึงขั้นตอนที่จะลงมือทำยังไม่สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมได้ จึงทำให้การออกแบบเป็นไปอย่างไม่ถูกต้อง

หัวข้ออบรม

    ในวันพฤหัสบดีที่ 29 ก.ค. 2564    เวลา 9:00 – 17:30 น.

  1. ออกแบบเทคโนโลยีอย่างไรให้สามารถทำโปรเจ็ค Big Data ได้จริง ?
  2. ต้องการ Data Lake หรือ Data Warehouse ?
  3. จำเป็นต้องใช้ Hadoop หรือไม่ ?
  4. เครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลมีอะไรบ้าง ?
  5. มุมมองของ Big Data Technology Vendors ต่าง ๆ
  6. ประสบการณ์การทำ Big Data ในประเทศไทยจากบริษัทต่าง ๆ
  7. ปิดท้ายด้วยกิจกรรมแข่งขันตอบคำถาม Big Data Architecture Challenge 2021 ลุ้นรับรางวัล Apple AirTag

ข้อมูลเพิ่มเติม